
การใช้เงินอย่างฉลาดให้เห็นทางรวย
ความรู้เรื่องการเงินส่วนบุคคล การใช้เงินอย่างฉลาดและมีความฉลาดด้านการเงินและมีความสำคัญมากเป็นเป็นอันดับหนึ่ง เพราะความรู้เรื่องการเงินส่วนบุคคล (Personal Finance) ที่ทำให้รู้จักใช้เงินเป็น มีความฉลาดด้านการเงิน ที่สำคัญเป็นเรื่องที่ต้องขวนขวายศึกษากันเอาเอง หากเราไม่มีความรู้นี้ส่งผลให้สุขภาพการเงินไม่แข็งแรงก็จะได้รับผลกระทบหนัก ดังนั้นจึงควรหาความรู้เรื่องการเงินส่วนบุคคลไว้ เพื่อเป็นเกราะป้องกันความเสี่ยงได้ บทความนี้มานำเสนอมุมการการใช้เงินที่แตกต่างกันระหว่างรวยกับจนจะเป็นอย่างไรไปอ่านกันเลยค่ะ 101หารายได้
การใช้เงินอย่างฉลาดให้เห็นทางรวย
1. วิธีการใช้เงินสร้างทรัพย์สินดี

การใช้เงินสร้างทรัพย์สินดีกว่าเอาเงินไปสร้างหนี้สิน ความหมายของทรัพย์สิน (Asset) คือ การทำให้เกิดผลตอบแทนเป็นบวกมีเงินในกระเป๋าเพิ่มขึ้น ความหมายของหนี้สิน (Debt) คือ ทำให้เกิดผลตอบแทนเป็นลบมีเงินในกระเป๋าน้อยลง เช่น บ้านให้เช่าถือเป็นทรัพย์สิน ส่วนบ้านอยู่อาศัยเองถือเป็นหนี้สิน หากยังไม่ได้ขายออกไป ดังนั้นมีบ้านอยู่อาศัยเอง ควรใช้เงินแต่พอดีจะได้มีเงินเหลือเอาไปลงทุนสร้างสินทรัพย์ได้
2. การใช้เงินแลกเวลาและเวลาแลกเงิน

การใช้เงินแลกเวลาและเวลาแลกเงิน โดยการเป็นมนุษย์เงินเดือนมีเงินเข้ามาสม่ำเสมอเป็นหลักประกันที่ค่อนข้างมั่นคง แต่เหมือนเอาเวลาส่วนหนึ่งในชีวิตไปแลกกับเงินเดือน เมื่ออายุเยอะก็ต้องเลิก ดังนั้นคนที่อยากประสบความสำเร็จต้องรู้จักการใช้เงินอย่างฉลาดแลกเวลาด้วย เพราะทุกวันมีเวลาจำกัดแค่ 24 ชม. แต่สิ่งที่ต้องทำมีมากมาย ดังนั้นงานบางอย่างควรกระจายออกจ้างคนอื่นมาทำให้ เช่น เปิดร้านขายของจ้างคนมาช่วยขาย ลงทุนผ่านกองทุนรวมจ้างให้ผู้จัดการกองทุนดูแล เป็นต้น
3. กำลังทรัพย์

การวางแผนหาเงินและการใช้เงินให้ในแต่ล่ะปี ๆ ไม่ใช่แค่วันนี้หรือเดือนนี้เท่านั้น เพราะไม่มีใครสามารถคาดอนาคตได้ว่าจะเกิดเหตุการณ์ว่าจะเกิดอะไรขึ้น อาจจะมีปัญหาเรื่องเงินไม่พอใช้หรือถึงขั้นไม่มีเงินได้
4. วินัยของการออม

การใช้เงินอย่างฉลาดคือ การใช้น้อยกว่ารายได้ในแต่ละเดือน เพื่อให้มีเงินออมเพิ่มขึ้นทุกเดือน ไม่ใช่ใช้เงินตามใจชอบจนไม่เหลือเงินเก็บเลย เกิดเงินสะดุดขึ้นมาเมื่อไหร่ชีวิตจะลำบาก วิธีนี้รู้ไหมว่าจะทำให้คุณรู้สึกว่ามีความมั่นคงทางการเงินมากขึ้น
5. การใช้จ่ายและการลงทุน

การใช้เงินเก็บที่มีไปกับการลงทุนมากกว่าบริโภค เช่น เอาเงินเก็บไปซื้อกองทุนรวมดีกว่าไปซื้อมือถือรุ่นใหม่ การซื้อของไว้ใช้เองถือเป็นการบริโภคต้องดูถึงความจำเป็นไม่ใช่รุ่นใหม่ออกต้องเปลี่ยนไปเรื่อย ๆ
6. ต่อยอดความรู้

ตัวอย่างเช่น คนที่สนใจเรื่องอาหารก็ศึกษาวิธีการเปิดร้านอาหาร คนที่สนใจเรื่องท่องเที่ยวก็ศึกษาวิธีการเป็นนักเขียนรีวิวเจาะลึกท่องเที่ยว คนที่สนใจเรื่องการเงินก็ศึกษาการลงทุนหุ้นหรืออสังหาริมทรัพย์ เป็นต้น
“เปลี่ยนตัวเองให้การใช้เงินอย่างฉลาดลงมือทำทันที อย่าปล่อยให้เสียเวลาเสียโอกาสไปเปล่าประโยชน์”
ผู้สนับสนุนบทความ ล็อตโต้สด