Home บทความแนะนำ ขายอาหารคลีนอย่างไร ให้ธุรกิจเพิ่มรายได้งาม ๆ

ขายอาหารคลีนอย่างไร ให้ธุรกิจเพิ่มรายได้งาม ๆ

by haraidai

ขายอาหารคลีน

วันนี้เราจะมาแนะนำวิธีการขายอาหารคลีน เพื่อเป็นการเพิ่มรายได้ให้กับธุรกิจ หรือสามารถนำไปทำเป็นอาชีพเสริม งานเสริมในวันหยุด หรือรับพรีออเดอร์ บทความนี้จะมาแชร์ข้อมูลทั้งหมด ไปดูกันเลย 101หารายได้

เคล็ดลับการขายอาหารคลีน เพื่อให้เพิ่มรายได้

อาหารคลีน (Clean Food) เป็นอาหารที่มีการปรุงแต่งน้อย ลดการแต่งสี ไม่มีวัตถุกันเสีย และปราศจากการปรุงแต่ง ที่เน้นวัตถุดิบและส่วนผสมที่มาจากธรรมชาติ และผ่านการปรุงรสให้น้อยที่สุด ใช้วัตถุดิบเนื้อสัตว์ไม่แปรรูป, ผักผลไม้สด, แป้งไม่ขัดสี, เกลือ, พริกไทย และไขมันดี เป็นต้น ดังนั้นมาดูกันเลยว่าต้องเริ่มต้นเปิดร้านขายอาหารคลีนยังไงถึงจะประสบความสำเร็จ และมัดใจลูกค้า ดังนี้

1. การวางแผน เพราะทุกอย่างต้องมีการวางแผน ดังนั้นการขายอาหารคลีนก็ต้องมีแผนการ ที่จะเพื่อให้กิจการของคุณมีชัยไปกว่าครึ่ง โดยมีหัวข้อหลัก ๆ ต้องพิจารณา ได้แก่ ต้นทุนในการเริ่มต้นขายอาหารคลีน, ค่าใช้จ่ายหรือเงินหมุนเวียนรายวัน รายสัปดาห์ หรือรายเดือน, กลุ่มลูกค้าเป้าหมายที่คุณจะขายอาหารของร้านให้, ราคาอาหารคลีนแต่ละเมนู และชื่อร้าน

2. เลือกองค์กรและธุรกิจ สำหรับผู้เปิดร้านหรือเจ้าของร้าน สามารถเลือกประเภทขายอาหารคลีนมีอยู่ 7 ประเภท ได้แก่

– กิจการเจ้าของคนเดียว

– ห้างหุ้นส่วนสามัญ

– ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล

– ห้างหุ้นส่วนจำกัด มี 2 ประเภทคือ ผู้เป็นหุ้นส่วนคนเดียวหรือหลายคนและผู้เป็นหุ้นส่วนคนเดียวหรือหลายคน

– บริษัทจำกัด

– บริษัทจำกัดมหาชน

–  องค์กรธุรกิจไม่แสวงหากำไร ที่มีสมาคมการค้าและหอการค้า

3. จัดการการเงินให้เรียบร้อย ต้องวางแผนว่าธุรกิจเพิ่มรายได้นี้ ถ้ามีเงินไม่พอเรานั้นจะสามารถหาทางออกที่ไหนได้บ้าง ได้แก่ กู้ธนาคาร, หาผู้ลงทุนให้, หาพาร์ทเนอร์ เป็นต้น

4.  การเลือกทำเลร้าน ที่ตั้งก็คือสิ่งสำคัญและมองข้ามไม่ได้ ขายอาหารคลีนของคุณจะรสชาติดีแค่ไหน แต่ไม่อยู่ในที่ที่มีลูกค้า ร้านก็จะไม่เป็นที่สนใจและไม่โต เว้นแค่ว่า คุณจะเน้นขายอาหารออนไลน์เท่านั้น มาดูสิ่งที่ควรพิจารณา ได้แก่ ค่าใช้จ่าย, การเข้าถึงได้ของลูกค้า, ข้อจำกัด แนะนำให้ศึกษาบริเวณโดยรอบให้ดีว่ามีข้อจำกัดอื่น ๆ หรือไม่, คู่แข่ง ร้านคู่แข่งและร้านอื่น ๆ, วางแผนล่วงหน้า

5. การออกแบบผังร้านขายอาหารคลีน ถึงเวลาวางแปลนร้าน โต๊ะ ที่นั่ง และการตกแต่งต่าง ๆ ปกติแล้ว ร้านอาหารจะจัดให้พื้นที่กว่า 45 – 60% ของร้านให้เป็นบริเวณทานอาหาร หรือพื้นที่รับรองลูกค้า ส่วนอีก 35% ก็จะเป็นส่วนของห้องครัว พื้นที่จัดเก็บของและวัตถุดิบ และออฟฟิศหลังบ้าน

6. การเลือกซัพพลายเออร์ ต่อมาการเลือกซื้ออุปกรณ์ในครัวและการทำอาหารต่าง ๆ แม้ว่าจะได้คุยกับซัพหลายเจ้า อย่างไรก็ตามเราก็ต้องมาหาข้อมูลเองด้วย จากนั้นก็ต้องดูด้วยว่าเจ้าไหนราคาดี และคุณภาพสินค้าได้ตามที่ทางร้านของเราต้องการ

7. การหาพนักงาน สำหรับพนักงานที่มีประสบการณ์ในการทำร้านอาหาร หรือพนักงานที่เต็มใจเรียนรู้และมีใจรักบริการ ทั้งหมดนี้คือ คุณสมบัติที่จะช่วยให้การจัดการร้านอาหารของคุณง่ายขึ้น และมอบประสบการณ์ที่ดีให้กับลูกค้าได้ดียิ่งขึ้น8. การขายออนไลน์เพิ่มรายได้ หากมีตั้งหน้าร้านและจัดการทุกอย่างเรียบร้อยแล้ว สิ่งสุกท้ายต้องมีช่องทางการขายอาหารออนไลน์ เพราะเป็นช่องทางยอดนิยมที่ช่วยอำนวยความสะดวกแก่ลูกค้า และร้านขายอาหารคลีน

ขอขอบคุณ ล็อตโต้สด

เรื่องที่คล้ายกัน

Leave a Comment